Skip to content
ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
Siriraj Radiology Department (SIRAD)
Main Menu
เกี่ยวกับ
Menu Toggle
คณะผู้บริหาร
คณาจารย์
Menu Toggle
สาขาวิชารังสีวินิจฉัย
สาขาวิชารังสีรักษา
สาขาวิชาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
บุคลากร
Menu Toggle
สาขาวิชารังสีวินิจฉัย
สาขาวิชารังสีรักษา
สาขาวิชาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
สำนักงานภาควิชา
วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม
ประวัติภาควิชารังสีวิทยา
การศึกษา
Menu Toggle
หลักสูตรแพทยศาสตร์
หลักสูตรวุฒิบัตรแพทย์ประจำบ้านและต่อยอด
หลักสูตร วท.ม.ฟิสิกส์การแพทย์
การประเมินคุณภาพการศึกษา
Menu Toggle
คณะกรรมการฝ่ายการศึกษาภาคฯ
EdPEX
WFME
Menu Toggle
WFME หลักสูตรวุฒิบัตรฯสาขารังสีวิทยาวินิจฉัย
WFME หลักสูตรวุฒิบัตรฯสาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา
WFME หลักสูตรวุฒิบัตรฯสาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
สาขาวิชารังสีวินิจฉัย
สาขาวิชารังสีรักษา
สาขาวิชาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
กิจกรรมการศึกษา
วิชาการ
Menu Toggle
ประชุมวิชาการ
Menu Toggle
Upcoming events
Past events
คณะกรรมการฝ่ายวิชาการภาคฯ
งานบริการ
Menu Toggle
ความรู้สู่ประชาชน
Menu Toggle
การป้องกันอันตรายจากรังสี
VDO ความรู้ทางการแพทย์ด้านรังสีวิทยา
การรับรอง Advanced HA
Menu Toggle
งานพัฒนาคุณภาพ-การบริการทางรังสีวิทยา
การรับรองมาตรฐานคุณภาพ
Menu Toggle
QUATRO
QUADNUM
ตารางแพทย์รังสีรักษา
ขั้นตอนการรับบริการ
Menu Toggle
สาขาวิชารังสีวินิจฉัย
สาขาวิชารังสีรักษา
สาขาวิชาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
คณะกรรมการฝ่ายพัฒนาคุณภาพภาคฯ
งานวิจัย
Menu Toggle
MOU วิจัย
คณะกรรมการฝ่ายวิจัยภาคฯ
แหล่งทุนวิจัย
กิจกรรมและข่าว
Menu Toggle
ข่าวกิจกรรม
ประกาศ
รางวัล-เกียรติยศ
งานบุคคล
ปฏิทินกิจกรรม
ตำราและหนังสือ
วารสารรังสีวิทยาศิริราช
ฟลูโอโรสโคปี
การกลืนแป้งดูกระเพาะอาหารและลำไส้เล็ก
การสวนแป้งดูลำไส้ใหญ่
พื้นฐานเกี่ยวกับฟลูโอโรสโคปี
ฟลูโอโรสโคปี (fluoroscopy) เป็นการตรวจทางรังสี ซึ่งเป็นการใช้รังสีเอกซ์โดยรังสีแพทย์เพื่อให้ได้ภาพของอวัยวะภายในร่างกายที่เป็นภาพจริง ณ ขณะนั้น (real time imge) ระบบประกอบด้วยเตียงเอกซเรย์ และแกนเอกซเรย์ที่เป็นแขนรูปตัว C ซึ่งมีแหล่งกำเนิดเอกซเรย์อยู่ใต้เตียง และมีตัวรับภาพอยู่เหนือเตียง และส่งสัญญาณภาพไปแสดงยังหน้าจอคอมพิวเตอร์ได้ในทันที
อย่างไรก็ตามการใช้เอกซเรย์ ยังมีอันตรายเนื่องจากเอกซเรย์เป็นรังสีที่แตกตัวได้ ดังนั้นการตรวจจะต้องพิจารณาความคุ้มค่าและความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นสำคัญ การใช้เวลาในการตรวจไม่มากนัก และการใช้เทคโนโลยีตัวรับภาพและการสร้างภาพรุ่นใหม่จะทำให้กระบวนการตรวจมีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ประวัติ
การเริ่มต้นของระบบฟลูโอโรสโคปี สามารถสืบค้นไปในช่วงเดียวกับการค้นพบเอกซเรย์นั่นเอง นั่นคือเมื่อพบเอกซเรย์แล้ว นักวิทยาศาสตร์คนสำคัญคือ Thomas Edison ก็ได้ค้นพบว่าแผ่น calcium tungstate สามารถที่จะส่งสว่างเมื่อได้รับการกระตุ้นด้วยเอกซเรย์ และได้ผลิตเครื่องฟลูโอโรสโคปีออกขายเพื่อการค้านับแต่นั้น
อย่างไรก็ตามด้วยข้อจำกัดของแผ่นเรืองแสง ดังนั้นการตรวจฟลูโอโรสโคปีในช่วงแรกๆ จึงต้องทำในห้องมืด ซึ่งเป็นปัญหาเป็นอย่างมาก ต่อมามีการพัฒนาแผ่นเรืองแสงและระบบกล้องโทรทัศน์ในช่วงปี 1950 ระบบฟลูโอโรสโคปีจึงได้พัฒนาเพิ่มขึ้น จนสามารถทำการตรวจในห้องปกติได้ และระบบกล้องทำให้สามารถเห็นภาพของการตรวจผ่านทางจอคอมพิวเตอร์ได้ในทันที และเมื่อพัฒนาแผ่นเรืองแสงที่ทำจาก CsI ซึ่งช่วยลดสิ่งรบกวนในภาพ ทำให้ปริมาณรังสีที่ให้แก่ผู้ป่วยลดลงแต่ได้ภาพที่มีคุณภาพดียิ่งขึ้น
แม้ว่าการตรวจฟลูโอโรสโคปีจะมีปริมาณรังสีที่น้อย แต่ก็ยังมีความเสี่ยงอยู่ ดังนั้นการตรวจในสตรีมีครรภ์และเด็กจึงจำเป็นต้องพิจารณาความเสี่ยงอยู่
การกลืนแป้งดูหลอดอาหาร
การสวนสารทึบรังสีดูกระเพาะปัสสาวะในเด็ก
การส่งตรวจทั่วไป
จุดประสงค์ในการส่งตรวจ ได้แก่
สงสัยพยาธิสภาพของระบบทางเดินอาหาร โดยส่งตรวจสวนแป้งระบบลำไส้ใหญ่ กลืนแป้งสำหรับระบบหลอดอาหารและทางเดินอาหารส่วนต้น
สงสัยพยาธิสภาพของระบบประสาทไขสันหลัง และระบบข้อต่อต่างๆ
สงสัยพยาธิสภาพของระบบสืบพันธ์สตรี
ช่วยในการผ่าตัดทางออร์โธปิดิกส์ (กระดูก)