Skip to content
ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
Siriraj Radiology Department (SIRAD)
Main Menu
เกี่ยวกับ
Menu Toggle
คณะผู้บริหาร
คณาจารย์
Menu Toggle
สาขาวิชารังสีวินิจฉัย
สาขาวิชารังสีรักษา
สาขาวิชาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
บุคลากร
Menu Toggle
สาขาวิชารังสีวินิจฉัย
สาขาวิชารังสีรักษา
สาขาวิชาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
สำนักงานภาควิชา
วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม
ประวัติภาควิชารังสีวิทยา
การศึกษา
Menu Toggle
หลักสูตรแพทยศาสตร์
หลักสูตรวุฒิบัตรแพทย์ประจำบ้านและต่อยอด
หลักสูตร วท.ม.ฟิสิกส์การแพทย์
การประเมินคุณภาพการศึกษา
Menu Toggle
คณะกรรมการฝ่ายการศึกษาภาคฯ
EdPEX
WFME
Menu Toggle
WFME หลักสูตรวุฒิบัตรฯสาขารังสีวิทยาวินิจฉัย
WFME หลักสูตรวุฒิบัตรฯสาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา
WFME หลักสูตรวุฒิบัตรฯสาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
สาขาวิชารังสีวินิจฉัย
สาขาวิชารังสีรักษา
สาขาวิชาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
กิจกรรมการศึกษา
วิชาการ
Menu Toggle
ประชุมวิชาการ
Menu Toggle
Upcoming events
Past events
คณะกรรมการฝ่ายวิชาการภาคฯ
งานบริการ
Menu Toggle
ความรู้สู่ประชาชน
Menu Toggle
การป้องกันอันตรายจากรังสี
VDO ความรู้ทางการแพทย์ด้านรังสีวิทยา
การรับรอง Advanced HA
Menu Toggle
งานพัฒนาคุณภาพ-การบริการทางรังสีวิทยา
การรับรองมาตรฐานคุณภาพ
Menu Toggle
QUATRO
QUADNUM
ตารางแพทย์รังสีรักษา
ขั้นตอนการรับบริการ
Menu Toggle
สาขาวิชารังสีวินิจฉัย
สาขาวิชารังสีรักษา
สาขาวิชาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
คณะกรรมการฝ่ายพัฒนาคุณภาพภาคฯ
งานวิจัย
Menu Toggle
MOU วิจัย
คณะกรรมการฝ่ายวิจัยภาคฯ
แหล่งทุนวิจัย
กิจกรรมและข่าว
Menu Toggle
ข่าวกิจกรรม
ประกาศ
รางวัล-เกียรติยศ
งานบุคคล
ปฏิทินกิจกรรม
ตำราและหนังสือ
วารสารรังสีวิทยาศิริราช
อัลตราซาวด์
ภาพอัลตราซาวด์ตับ
ภาพอัลตราซาวด์ไต
ภาพอัลตราซาวด์หลอดเลือดแดงลำคอ
อัลตราซาวด์
อัลตราซาวด์ หรือภาษาอังกฤษว่า Ultrasound คือ เครื่องมือการตรวจอวัยวะภายในร่างกายซึ่งใช้คลื่นเสียงความถี่สูง(เกิน 20,000รอบ/วินาที)
ข้อดีก็คือ
อัลตราซาวด์ ปลอดภัย ตรวจได้รวดเร็ว สะดวก ไม่เจ็บปวด สามารถตรวจได้หลาย ๆ มุมมอง ปัจจุบันยังมี Color Doppler Ultresound ซึ่งจะแสดงภาพเป็นสีต่าง ๆ เช่น แดง,น้ำเงิน,เหลือง เป็นต้น อัลตราซาวด์แบบนี้จะใช้ตรวจหัวใจและหลอดเลือด โดยอาศัยหลักการเปลี่ยนแปลงของความถี่ในขณะที่วัตถุนั้นมีการเคลื่อนที่ โดยถ้าวัตถุนั้นวิ่งเข้าใกล้หัวตรวจ จะเกิดการเสริมความเร็วความถี่ก็จะสูงขึ้น(นิยมตั้งค่าให้เป็นสีแดง) ในทางตรงกันข้าม ถ้าวัตถุนั้นวิ่งออกห่างจากหัวตรวจ ความถี่ก็จะลดต่ำลง(นิยมตั้งเป็นสีน้ำเงิน) โดยอาศัยเม็ดเลือดแดงในเส้นเลือดและหัวใจเป็นตัวหลักทำให้เกิดภาพ
อัลตราซาวด์มีประโยชน์ในทางการแพทย์เป็นอย่างมาก เช่น การอัลตราซาวด์เด็กในท้องแม่ แต่ที่ใช้เพื่อการวินิจฉัยโรคจะเป็นการตรวจช่องท้องเพื่อดู ตับ ไต ถุงน้ำดี ท่อน้ำดี ตับอ่อน ม้าม อวัยวะสืบพันธุ์สตรี เช่น มดลูก รังไข่ นอกจากนี้ยังใช้ตรวจโรคและอวัยวะอื่น ๆ ได้อีกมากเช่น ต่อมไทรอยด์ ต่อมลูกหมาก ต่อมน้ำลาย หลอดเลือดดำ หลอดเลือดแดง โดยการวางหัวตรวจสัมผัสที่ผิวหนังเท่านั้น
เมื่อเปรียบเทียบกับเอกซเรย์แล้ว อัลตราซาวด์มีความปลอดภัยในแง่ที่ไม่ต้องการมีการใช้รังสี ทำให้ไม่ต้องกังวลถึงผลกระทบของรังสีต่อตัวเรา โดยเฉพาะเมื่อใช้อัลตราซาวด์ในการตรวจทารกที่อยู่ในครรภ์ จึงมีความปลอดภัยสูงมาก ปัจจุบันยังไม่มีการรายงานผลกระทบทางชีววิทยาหรืออันตรายต่อผู้ได้รับการตรวจจากการใช้อัลตราซาวด์เลย
เมื่อผู้ป่วยจะมารับการตรวจอัลตราซาวด์ ในบางการตรวจอาจต้องเตรียมตัวาบ้าง เช่น ถ้าต้องการตรวจช่องท้องส่วนบนก็ควรจะงดอาหารประมาณ 4-6 ชม. เพื่อให้แก๊สในลำไส้น้อยจะได้ตรวจง่ายและชัดเจน และถุงน้ำดีพองเต็มที่
แต่ถ้าคนไข้ต้องการจะตรวจดูไต หรือช่องท้องส่วนล่างก็ต้องดื่มน้ำมาก ๆ และกลั้นปัสสาวะเอาไว้ ประมาณ 2 ชั่วโมง จึงจะตรวจได้ จุดประสงค์คือ ต้องการให้กระเพาะปัสสาวะพองตัวมาก ๆ จนไตดันลำไส้ขึ้นไปทางด้านบน ทำให้แพทย์สามารถตรวจมองเห็นมดลูกและปีกมดลูกได้ชัดเจน