ISSN 2673-0685 (Online)
คณะบรรณาธิการฯ ขอเชิญชวน รังสีแพทย์ นักรังสีการแพทย์, นักรังสีเทคนิค, นักฟิสิกส์การแพทย์, นักเคมีรังสี นักวิทยาศาสตร์รังสี พยาบาลรังสีวิทยาและนักวิชาการในสาขาที่เกี่ยวข้อง ส่งบทความวิชาการ บทความวิจัย เพื่อลงตีพิมพ์ “วารสารรังสีวิทยาศิริราช” (Journal of Siriraj Radiology)
ทุกบทความในวารสารจะได้รับการพิจารณาให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ให้เป็นที่เรียบร้อยและให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากที่สุดจากผู้ทรงคุณวุฒิจากหลายหน่วยงานที่ได้ให้ความร่วมมือรับเชิญเป็นผู้ตรวจประเมิน โดยเป็นการประเมิน 3 คน ในทุกบทความที่ได้รับการเผยแพร่
July – December 2024
Vol. 11 No.2
– การใช้ Software เสมือน Grid ในการถ่ายภาพเอกซเรย์ทรวงอกด้วยเครื่องเอกซเรย์เคลื่อนที่
– การประเมินค่าปริมาณรังสียังผลของบุคลากรเวชศาสตร์นิวเคลียร์ในโรงพยาบาลศิริราช
– ภาพทางรังสีวิทยาของไขมันพอกตับ
– การตรวจวินิจฉัยโรคมะเร็งตับด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าโดยการเก็บภาพในระยะหลอดเลือดแดงแบบหลายชุด จากการกลั้นหายใจครั้งเดียว
– การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะแบบใช้ปริมาณรังสีต่ำมาก
– การวินิจฉัยภาวะความดันโลหิตสูงในเด็กด้วยเครื่องตรวจคลื่นความถี่สูง
– การตรวจวัดค่าความดันของออกซิเจนบริเวณผิวหนังในผู้ป่วยที่มีภาวะขาขาดเลือดเรื้อรังขั้นวิกฤต
– เทคนิคการถ่ายภาพเอกซเรย์ทั่วไปในผู้ป่วยอุบัติเหตุข้อเท้าพลิกด้านนอก
– การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ข้อสะโพกสาหรับการผ่าตัดด้วยหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด
– บทบาทพยาบาลผู้ช่วยแพทย์ทำหัตถการตัดชิ้นเนื้อปอดผ่านผนังทรวงอกโดยใช้เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์เป็นตัวนำ
January – June 2024
Vol. 11 No.1
– การศึกษาปัญหาและการแก้ไขปัญหาการนำภาพทางการแพทย์จากภายนอกเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลรังสี
– การตรวจมวลกระดูกเพื่อประเมินภาวะกระดูกพรุนด้วยรังสีเอกซ์พลังงานต่ำ
– การตรวจวัดค่าความดันโลหิตของหลอดเลือดแดงที่ข้อเท้าเทียบกับความดันโลหิตของแขน สำหรับการวินิจฉัยและประเมินภาวะอาการขาขาดเลือดเรื้อรังขั้นวิกฤตด้วย เครื่อง Handheld Doppler และเครื่อง Sphygmomanometer
– การตรวจวัดค่าความดันโลหิตของหลอดเลือดแดงที่นิ้วมือเทียบกับความดันโลหิตของหลอดเลือดแดงที่แขนด้วยหัวตรวจอินฟราเรด เพื่อประเมินภาวะหลอดเลือดแดงที่แขนตีบตัน
– การตรวจวัดค่าความดันโลหิตของหลอดเลือดแดงที่นิ้วเท้า เพื่อประเมินภาวะหลอดเลือดแดงที่ของขาตีบตัน
– การถ่ายภาพเอกซเรย์เต้านมร่วมกับการฉีดสารทึบรังสี ณ โรงพยาบาลศิริราช
– ระบบข้อมูลและการรายงานผลภาพรังสีเต้านม
July – December 2023
Vol. 10 No.2
– การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์เพื่อหาคราบหินปูนในหลอดเลือดแดงหัวใจ
– ข้อพิจารณาและพึงระวังในการตรวจฉีดสีเส้นเลือดสมองในผู้ป่วยเด็กทางรังสีเทคนิค
– หัตถการปักเข็มชี้ตำแหน่งก้อนเนื้อในเต้านมด้วยเครื่องคลื่นเสียงความถี่สูง
– การคำนึงถึงประโยชน์ของผู้อื่น
January – June 2023
Vol. 10 No.1
– การพัฒนาการสังเคราะห์สารเภสัชรังสีชนิด 18F Sodium Fluoride (18F-NaF) เพื่อดูการกระจายตัวของมะเร็งที่ไปยังกระดูกในโรงพยาบาลศิริราช
– เทคนิคการจัดท่าผู้ป่วยที่มารับการเจาะชิ้นเนื้อปอดที่ผิดปกติด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์
– เทคนิคการรวมภาพจากเครื่องตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเข้ากับภาพอัลตราซาวด์ช่วยนำทางเข็มในหัตถการจี้ก้อนเนื้องอกในตับด้วยคลื่นวิทยุ
– การรักษามะเร็งตับและมะเร็งตับอ่อนด้วยมีดนาโน (Nanoknife®) หรือไฟฟ้าความต่างศักดิ์สูง (irreversible electroporation; IRE): บทบาทของนักรังสีการแพทย์
July – December 2022
Vol. 9 No.2
– เปรียบเทียบวิธีการสังเคราะห์สารเภสัชรังสีชนิด 18F-FCH และ 18F-PSMA1007 ในการดูแลรักษามะเร็งต่อมลูกหมากด้วยเครื่อง CFN MPS200 Multipurpose
– การเพิ่มอัตราการทบทวนแผนการรักษา (Peer review) สำหรับผู้ป่วยสาขาวิชารังสีรักษาที่หวังผลหายขาดจากการพัฒนาระบบฐานข้อมูล Care Path
– การใช้โปรแกรมรวมภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์หลอดเลือดสามมิติกับภาพฟลูออโรสโคปี ในการทำหัตถการใส่หลอดเลือดเทียมชนิดมีรูเปิดให้กับแขนงหลอดเลือดผ่านหลอดเลือดแดงใหญ่ช่องท้อง
– การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์บนรถ Mobile Stroke Unit: โรงพยาบาลศิริราช
January – June 2022
Vol. 9 No.1
– การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สำหรับการวินิจฉัยเนื้องอกต่อมหมวกไตชั้นนอก
– การตรวจการบาดเจ็บของอวัยวะหลายระบบในผู้ป่วยอุบัติเหตุด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์
– การประเมินผลเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมองแบบไม่ฉีดสารทึบรังสีด้วยวิธี Alberta Stroke Program Early CT Score (ASPECTS) สำหรับโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน
– การพัฒนาการสังเคราะห์ติดฉลาก 18F-PSMA1007 สำหรับตรวจวินิจฉัยโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก
July – December 2021
Vol. 8 No.2
– การปฏิบัติที่ดีสำหรับการตรวจอัลตราซาวด์ไต
– การเลือกใช้สารทึบรังสีเพื่อป้องกันภาวะไตวายเฉียบพลันหลังได้รับสารทึบรังสี
– ความพึงพอใจในงานบริการทางรังสีวินิจฉัย
– การพัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมุลควบคุมคุณภาพเครื่องมือรังสี
January – June 2021
Vol. 8 No.1
– การประเมินปริมาณรังสีที่ผู้ป่วยเด็กได้รับในการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมอง
– การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมากที่ได้รับการฝังทองเพื่อระบุตำแหน่งในการฉายรังสี
– การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ความละเอียดสูงของทรวงอกในผู้ป่วยโรคหลอดลมโป่งพอง
– การบริหารเวลาในการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์หลอดเลือดปอด
July – December 2020
Vol. 7 No.2
– Assessment of Urine Iodine Concentration after Low Iodine Diet in Differentiated Thyroid Cancer
– การวิเคราะห์และออกแบบการให้สุขศึกษาผู้ป่วยมะเร็ง
– การตรวจต่อมพาราไทรอยด์ด้วยวิธีการทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ในภาวะฮอร์โมนพาราไทรอยด์สูง
– การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งแพร่กระจายไปยังสมองที่ได้รับรังสีรักษา
– การกำกับดูแลกระบวนการนัดหมาย
January – June 2020
Vol. 7 No.1
– ความพร้อมในการถ่ายเอกซเรย์ปอดในผู้ป่วยติดเชื้อโรคโควิด-19 ที่หน่วยตรวจคัดกรองโรงพยาบาลศิริราช
– การเปรียบเทียบคุณสมบัติของเครื่องเอกซเรย์เคลื่อนที่ระบบดิจิตอล และเครื่องเอกซเรย์เคลื่อนที่ระบบถ่ายภาพรังสีคอมพิวเตอร์
– เทคนิคการถ่ายภาพรังสีผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตอุบัติเหตุ
– การหาปริมาตรของก้อนเลือดในผู้ป่วยเลือดออกในสมองด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยแปลผลภาพเชิงปริมาตร
– การกำกับดูแลการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดปอดอุดตัน
July – December 2019
Vol. 6 No.2
– การพยาบาลผู้ป่วยที่มารับการตรวจเพทซีทีสแกน( PET/CT scan)
– การถ่ายภาพเอกซเรย์ Bone age ในผู้ป่วยเด็กไทยที่โรงพยาบาลศิริราช
– ภาพถ่ายเอกซเรย์ทั่วไปในการวินิจฉัยโรคเท้าแบน
– โรคข้อเข่าเสื่อมกับการเอกซเรย์
– การกำกับดูแลการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองอุดตัน
January – June 2019
Vol. 6 No.1
– ข้อคำนึงในการตรวจพิเศษทางรังสีระบบอวัยวะสืบพันธ์สตรี
– บทบาทของภาพทางรังสีต่อการวินิจฉัยภาวะบาดเจ็บกระดูกสันหลังส่วนคอ
– การวินิจฉัยภาวะหลอดเลือดแดงไตใหม่ตีบในผู้ป่วยที่ปลูกถ่ายไตด้วยเครื่องตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง
– การตรวจคัดครองมะเร็งปอดด้วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ปริมาณรังสีขนาดต่ำ
– ข้อคำนึงการใช้สารทึบรังสีเชิงก้าวหน้า
July – December 2018
Vol. 5 No.2
– Factors Affecting on Patient Acceptance for Ultrasound Education
– Evaluation of Lung Shunt Fraction from Planar Scintigraphy and SPECT/CT Images
– Estimation of Radiation Dose to Workers in Siriraj Cyclotron Center
– เทคนิคการเอกซเรย์คอกระดูกต้นขาบริเวณสะโพกในผู้ป่วยอุบัติเหตุ
– การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์หลอดเลือดแดงของไตสำหรับการปลูกถ่ายไตในผู้บริจาคไต
– การถ่ายภาพผู้ป่วยภาวะบวมน้ำเหลืองด้วยเครื่องตรวจสนามแม่เหล็กความเข้มข้นสูง
January – June 2018
Vol. 5 No.1
– A Comparison of Acute Adverse Reactions to Three Different Intravenous Iodinated Contrast media in Patients Underwent Computed Tomography at Burapha University Hospital
– การประเมินปริมาณรังสีที่ผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ได้รับจากการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ช่องท้องที่โรงพยาบาลศิริราช
– การศึกษาระดับรังสีอ้างอิงสำหรับการถ่ายภาพรังสีดิจิทัล:กรณีศึกษาโรงพยาบาลศิริราช
– การถ่ายเอกซเรย์ทั่วไปสำหรับภาวะ Classic Eagle Syndrome
– การถ่ายภาพเอกซเรย์กระดูกขากรรไกรล่างในผู้ป่วยได้รับอุบัติเหตุ
– ข้อแตกต่างระหว่างการเอกซเรย์ระบบถ่ายภาพรังสีคอมพิวเตอร์กับระบบถ่ายภาพดิจิทัล
– การใช้โปรแกรม GSI ของเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ GE รุ่น Revolution ในการหารอยโรคเส้นเลือดปอดอุดตัน
– การวิเคราะห์ชนิดของนิ่วในไตโดยการใช้ Dual Energy Computed Tomography
July – December 2017
Vol. 4 No.2
– การวิเคราะห์ปริมาณการตรวจเอกซเรย์เต้านม: ศึกษาในห้วงเวลา พ.ศ.2559-2560
– การผลิตสารเภสัชรังสีชนิด F-18 Florbetapir (F-18-AV-45) เพื่อเป็นสารเภสัชรังสีในการตรวจวินิจฉัยการสะสมของโปรตีนอะมัยลอยด์ในสมองสำหรับการตรวจผู้ป่วยสมองเสื่อมจากโรคอัลไซเมอร์ในโรงพยาบาลศิริราช
– อุปกรณ์สำหรับการทดสอบเพื่อการตรวจรับและควบคุมคุณภาพ เครื่องเอกซเรย์วินิจฉัยทั่วไป
– การทดสอบเพื่อการตรวจรับและการควบคุมคุณภาพแผ่นรับภาพเครื่องเอกซเรย์ดิจิทัล
– เทคนิคการถ่ายภาพเอกซเรย์เต้านมในผู้หญิงที่ศัลยกรรมเสริมเต้านม
– การถดถอยของทักษะวิชาชีพ
January – June 2017
Vol. 4 No.1
– Analysis of CT scan parameters to determine adrenal mass : Adrenocortical carcinoma, Lipid poor adrenal adenoma, and Pheochromocytoma
– The Heat Denatured RBC, the Most Specific Technique for Spleen-Specific Imaging: Siriraj Nuclear Medicine Experiences: 2007 – 2014
– การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมากที่ได้รับรังสีรักษาระยะใกล้ด้วยสารกัมมันตรังสีอัตราปริมาณรังสีสูง
– การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับรังสีรักษา
– การเจาะชิ้นเนื้อในเต้านม
– การตรวจ lymphoscintigraphy ในผู้ป่วย lower extremity lymphedema
– การปฏิบัติที่ดีสำหรับการตรวจอัตราซาวนด์ช่องท้อง
– การวิเคราะห์การเอกซเรย์ทั่วไปเพื่อหาลำดับความจำเป็นในการจัดอบรมฝึกซ้อมในงานเอกซเรย์อุบัติเหตุ
– เทคนิคการเอกซเรย์หัวไหล่ในผู้ป่วยอุบัติเหตุ
– สมรรถนะวิชาชีพรังสีการแพทย์และการธำรงรักษาทุนมนุษย์
July – December 2016
Vol. 3 No.2
– Evaluation of Effective Dose and Cancer Risk Associated with Low Dose Protocols in Whole-Body Dual-Modality 18F-FDG PET/CT Examinations
– Accuracy of Computed Tomography for Common Neurological Disease in HIV Patients at Siriraj Hospital
– HYDROCEPHALUS
– Brain Volume Measurement, Methods and Clinical Applications
– ประโยชน์และข้อจำกัดของการตรวจวินิจฉัยโรคบริเวณ Head, Neck and Orbit ด้วยเครื่อง CT and MRI
– MR Imaging for Brain Tumor
– การประเมินเหล็กในเนื้อเยื่อโดย MRI
– ความเข้าใจเบื้องต้นของการตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของระบบกระดูกและข้อ
– การตรวจด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT) ที่มีโปรแกรมและเทคโนโลยีชั้นสูง
– การดูแลผู้ป่วยที่มารับการตรวจวินิจฉัยด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT) และเครื่องสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)
January – June 2016
Vol. 3 No.1
– การตรวจทางเดินน้ำเหลืองทางเวชสารศาสตร์นิวเคลียร์ในผู้ป่วยทางเดินน้ำเหลืองอุดตัน
– การเจาะตัดชิ้นเนื้อเต้านมภายใต้เครื่องอัลตราซาวนด์เพื่อตรวจทางพยาธิวิทยา
– เทคนิคการตรวจหลอดเลือดแดงหัวใจด้วยเครื่องตรวจสนามแม่เหล็กไฟฟ้า
– การจำลองการรักษาแบบสามมิติด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์จำลองการรักษาในโรคเนื้องอกสมองชนิดไม่ร้ายแรง
– การวิเคราะห์ต้นเหตุปัญหาของการใช้งานระบบฐานข้อมูลภาพรังสี
– การส่งเสริมระบบภาพรังสีในหน่วยงานเอกซเรย์ขนาดเล็ก
– เทคโนโลยีนิวเคลียร์ทางการแพทย์กับปัญหาจริยศาสตร์
– การแพทย์แบบมีส่วนร่วมกับประชาชน : มุมมองเชิงปรัชญา
July – December 2015
Vol. 2 No.2
– รังสีวิทยากับวิศวกรรมชีวการแพทย์
– CT Pulmonary Angiography (CTPA) for Pulmonary Embolism
– เทคนิคการวางระนาบ MRS (Magnetic Resonance Spectroscopy) ในการตรวจต่อมลูกหมากด้วยเครื่องสนามแม่เหล็กไฟฟ้า
– ระบบการควบคุมปริมาณกระแสหลอดอัตโนมัติในเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์
– พยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยมะเร็งต่อมไทรอยด์ที่ได้รับไอโอดีนรังสี-131 ขนาดสูง
– การใช้อนุภาคกัมมันตรังสีอิตเทรียม-90 เพื่ออุดกั้นหลอดเลือดแดงของตับ
– บทบาทของภาพทางรังสีต่อการวินิจฉัยโรคข้อรูมาตอยด์อักเสบ
– การตรวจ Stereotactic Breast Biopsy
January – June 2015
Vol. 2 No.1
– การตรวจหามวลไขมัน, กล้ามเนื้อ และกระดูกด้วยวิธี Dual Energy X-ray Absorptiometry
– การวางแผนทดแทนเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์จำลองการรักษา
– การตรวจพิเศษรังสีลำไส้ใหญ่
– การตรวจอัลตราซาวนด์ต่อมไทรอยด์ร่วมกับการเจาะดูดชิ้นเนื้อ เพื่อส่งตรวจทางเซลล์วิทยา
– การตรวจวินิจฉัยโรคหลอดเลือดดำลึกที่ขาอุดตันด้วยเครื่องตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง Doppler
– การถ่ายภาพเอกซเรย์ Bone survey ในผู้ป่วยโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด Multiple myeloma
– การดูแลรักษาและตรวจสอบอุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากรังสีในงานรังสีวินิจฉัย
– ภาวะรั่วซึมออกนอกหลอดเลือดของสารทึบรังสี : การป้องกันและการพยาบาล
July – December 2014
Vol. 1 No.2
– Accuracy of MDCT Angiography for diagnosis of arterial lesion at upper extremities
– Chest Radiographic Findings of Pulmonary Tuberculosis in Thai infants and children
– Image Quality and Optimization Dose for Chest Examination in Computed Radiography and Digital Radiography
– เปรียบเทียบปริมาณรังสีในการถ่ายภาพทางรังสีทรวงอกระหว่างเครื่องเอกซเรย์ที่มีอายุการใช้งานต่างกัน
– การตรวจเพทซีทีสแกนในมะเร็งลำไส้ใหญ่
– Digital Breast Tomosynthesis
– ปัญหาและอุปสรรคในการใช้เครื่องตรวจเต้านมด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (Breast MRI ชนิดพิเศษ)
– ภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบและการดูแลช่องปากในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับการฉายรังสี
January – June 2014
Vol. 1 No.1
– ภาพวินิจฉัยภาวะขาดเลือดไปเลี้ยงสมอง
– การตรวจไตทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์
– การแปลผลภาพเอกซเรย์ช่องท้อง
– วิธีการตรวจ CTA Head and Neck ด้วยเทคนิค Dual Energy Subtraction CTA (DENSA)
– พยาบาลกับการดูแลผู้รับบริการตรวจหลอดเลือดด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์
– Patient Dose Measurement in Digital Mammography at King Chulalongkorn Memorial Hospital